A Secret Weapon For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษามีแนวโน้มที่สูงขึ้น:

With this more mature variations this was made use of together While using the __utmb cookie to identify new periods/visits for returning site visitors. When used by Google Analytics this is usually a Session cookie which can be destroyed ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา if the consumer closes their browser. The place it is actually viewed for a Persistent cookie it can be therefore very likely to be another technology location the cookie.

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น และยังคงอยู่มาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นผลมาจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่างๆ เช่น คุณภาพของโรงเรียนที่แตกต่าง การศึกษาไม่ทั่วถึงในพื้นที่ห่างไกล การขาดแคลนทุนการศึกษา ปัญหาเศรษฐกิจ และโรคระบาด เป็นต้น จึงส่งผลทำให้เยาวชนไทยจำนวนมากถูกช่วงชิงสิทธิขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ และถูกผลักออกจากระบบการศึกษาในที่สุด

ในบทความนี้ กสศ. จะมาเล่าที่มาที่ไป และแชร์เกี่ยวกับสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในปีล่าสุด

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.

ขาดประสิทธิภาพการสอนทักษะการคิด และอารมณ์ 

แก้วิกฤต (การเรียนรู้) ที่มองไม่เห็น: หาช่องว่าง ทำการประเมิน และออกมาตรการที่ปฏิบัติได้จริง

การแก้ไขปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของเด็กยากจนด้านหนึ่งจึงต้องเริ่มจากปรับโครงสร้างฐานข้อมูลให้ตรงตามความเป็นจริง โดยกำหนดระบบการคัดกรองแบบใหม่ให้ชัดเจน ควบคู่ไปกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

จำนวนเด็กนักเรียนยากจนจำนวนมากทำให้เงินอุดหนุนนักเรียนยากไร้ที่สพฐ.จัดสรรให้แต่ละโรงเรียนเองก็อาจไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนยากจนในโรงเรียนนั้นๆ ทำให้สถานศึกษาต้องเกลี่ยเงินให้ครบทุกคน เดิมที่สพฐ.

มุ่งสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาค และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *